เรื่องประกันตึกสตง.ที่ทนายรณรงค์ควรเข้าใจ?...>>> คงรับทราบกันแล้วนะครับว่า ตึกสำนักงานตรวจเงินแผ่นดินหรือสตง.ที่กำลังก่อสร้างและถล่มลงมาจากเหตุแผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 28มีนาคม2568 มีการทำประกันกับ4บริษัท คือ ทิพยประกันภัย กรุงเทพประกันภัย อินทรประกันภัย และวิริยะประกันภัย....และตอนนี้มีการพูดกันว่า ผลลงเอยในเรื่องการจ่ายเคลมจะเป็นเช่นไร? และคนงานจะได้รับความคุ้มครองหรือไม่?...>>> ผมได้อ่านเรื่องราวที่ ทนาย'รณรงค์ แก้วเพ็ชร์' โพสต์ โดยพุ่งเป้าไปที่บริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด(มหาชน) มีเนื้อหาไปทำนองที่ว่า มีความไม่ชอบมาพากล เพราะทิพยประกันภัยมีกระทรวงการคลังถือหุ้น แล้วเมื่อตึกถล่ม ก็จ่ายเคลมด้วยการนำเงินรัฐไปจ่ายให้เอกชน...ดูตามความหมายของถ้อยคำที่ทนายรณรงค์โพสต์เสมือนหนึ่งว่า...
.... น่าสนใจเป็นอย่างยิ่งกรณีการเปิดให้บริษัทประกันยื่นข้อเสนอรับประกันสุขภาพคนต่างด้าวที่เข้ามาขอใบอนุญาตทำงานในไทย ที่ล่าสุดกรมการจัดหางานรีบเร่งให้บริษัทประกันวินาศภัยยื่นข้อเสนอภายในวันที่19 พฤศจิกายน2567 เพียงวันเดียวเท่านั้น
...เหตุผลที่ต้องบอกว่า เรื่องนี้น่าสนใจ เพราะ หลักเกณฑ์ในการเปิดรับบริษัทประกันมีการกำหนดในลักษณะมีบริษัทประกันอยู่ในใจแล้ว ซึ่งเงื่อนไขที่ว่านี้แตกต่างจากปีก่อน
...หลักเกณฑ์เกี่ยวกับบริษัทประกันภัยตามกฎหมายว่าด้วยประกันวินาศภัยที่จะรับประกันสุขภาพคนต่างด้าวซึ่งจะขอรับใบอนุญาตทำงานตามมติคณะรัฐมนตรี ปี2566 (มติครม.วันที่5กรกฎาคม2566 และมติครม.3ตุลาคม2566) ระบุหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวกับความมั่นคงของบริษัทประกันที่ยื่นเสนอ มีเพียงเรื่องอัตราความเพียงพอของการดำรงเงินกองทุนต่อเงินกองทุนที่ต้องมีตามกฎหมาย(Car Ratio)ไม่ต่ำกว่าร้อยละ140เท่านั้น
....แต่ปรากฎว่า ตามหลักเกณฑ์ใหม่ในปี2567 ที่นายพิพัฒน์ รัชกิจประการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน นำเข้าครม.ในวันที่ 24 กันยายน2567 ได้เพิ่มเติมในเรื่องเงินกองทุน เงินทุนจดทะเบียน...
...ขอบคุณข้อเขียนเล็กๆของ นักคณิตศาสตร์ประกันภัย - ทอมมี่ แอคชัวรี Actuary
...ลองอ่านดูนะครับ
การคำนวณระบบการจ่ายเงินของตัวแทนจำหน่าย (Compensation Scheme) คือการคำนวณว่าจ่ายเป็นทอดๆ เท่าไร อย่างไร แต่ละตำแหน่งได้มากหรือได้น้อยเท่าไร จะต้องวางงบประมาณเงินให้กับตำแหน่งในระดับไหน และต้องมีการทำการวิเคราะห์ Winner Loser Analysis ว่า ใครที่ขายแบบไหนจะเป็น Winner หรือ ขายแบบไหนจะกลายเป็น Loser เพื่อดูว่าจะมีสิทธิ์กระทบกับใครบ้าง...
... สมาคมประกันวินาศภัยไทย แถลงผลประกอบการในรอบ9เดือน คือ มกราคม-กันยายน2566แล้วครับ...ปรากฎว่า ปีนี้ธุรกิจประกันวินาศภัยโดยรวม ยังโตได้ดีครับ...ตัวเลข9เดือน คว้าเบี้ย 210,141ล้านบาท หรือเติบโต 5.2%...มีการคาดการณ์ว่า สิ้นปีนี้ จะมีเบี้ย 285,080ล้านบาท หรือโต4-5%...สมาคมฯแถลงว่า โตได้ขนาดนี้ เป็นผลมาจากการเปลี่ยนหน้ารัฐบาลใหม่ นั่นหมายถึงมีผลทางในเชิงจิตวิทยา ที่อาจทำให้คนมั่นใจขึ้น ขณะเดียวกันอีกตัวหนึ่งที่เป็นตัวกระตุ้นให้โตก็คือ ยอดขายรถยนต์ไฟฟ้า...รถยนต์ไฟฟ้ามีอิทธิพลจริงๆ......***ลองมาดูแต่ละประเภทการประกันกันครับ....ประกันรถยนต์ โต6% อันนี้ชัดมากคือ ยอดขายรถยนต์ไฟฟ้า...
...น้องคนหนึ่งจากจังหวัดชุมพร โทร.หาผม โดยบอกว่า "ได้รับหนังสือจากสำนักงานกองทุนประกันชีวิต"
...เป็นหนังสือแจ้งให้ส่งเรื่องขอรับเงินที่ค้างอยู่ที่กองทุนประกันชีวิต...
..น้องบอกว่า จำนวนเงินไม่เยอะ แต่ตอนนี้ กลัวไปหมด เพราะถ้าเข้าเว็บไซต์ของกองทุนประกันชีวิต จะต้องใส่เลขบัตรประจำตัวประชาชน เพื่อยืนยันตัวตนด้วย
....เมื่อเป็นเช่นนี้ หากเป็นมิจฉาชีพ อาจถูกดูดเงินในบัญชีได้..
...***ผมได้ความจากน้องเช่นนี้ จึงอาสาตรวจสอบที่กองทุนประกันชีวิตให้ครับ
...ปรากฎว่า ส่งไปถึงผู้เคยเป็นผู้เอาประกันจริง โดยเจ้าหน้าที่บอกว่า คนที่ไม่มีที่อยู่ ทางกองทุนฯก็ขอจากสำนักทะเบียนราษฎร์กระทรวงมหาดไทย โดยส่งเฉพาะหนังสือเท่านั้น ไม่มีการส่งลิงค์ส่งแชทแต่อย่างใด
*** ผมจึงคิดว่า เป็นเรื่องที่ดีที่กองทุนประกันชีวิต ส่งหนังสือแจ้งเรื่องดังกล่าวข้างต้นไปถึงคนที่เคยทำประกันชีวิตครับ
...เหตุผลเพราะ คนเหล่านี้ยังมีสิทธิ์ได้รับเงินตามกรมธรรม์ในบางกรณีที่เข้าเกณฑ์
...เข้าเกณฑ์อย่างไร?
...หนึ่ง :...
... คุณนุสรา (อัสสกุล) บัญญัติปิยพจน์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการ (CEO) บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) เปิดเผยว่า ในปี 2565 ถึงแม้ว่าสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID – 19 เริ่มคลี่คลาย โดยปีที่แล้ว เราเดินหน้าเอาชนะความท้าทายด้วย LOVE MINDSET
ปี 2565 บริษัทยังคงเดินหน้าต่อยอดสโลแกน...
จบปี 2565 เบี้ยโตติดลบถ้วนหน้า ขายผ่านนายหน้ามาแรง ส่วนปี 66 อย่างเก่งโตไม่เกิน 2%
... สมาคมประกันชีวิตไทยเผยภาพรวมธุรกิจประกันชีวิตไทย ปี 65 และ แนวโน้มธุรกิจประกันชีวิตไทย ปี 66
….นายสาระ ล่ำซำ นายกสมาคมประกันชีวิตไทย เผยภาพรวมธุรกิจประกันชีวิตของปี 2565 ระหว่างมกราคม - ธันวาคม มีบี้ยประกันภัยรับรวมอยู่ที่ 611,374...
.... จากการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีแนวโน้มขยายตัวมากขึ้น ส่งผลให้ชีวิตประจำวันของผู้คนในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศง่ายขึ้น เป็นวิถีแห่งยุคดิจิทัล การเข้าถึงข้อมูล สื่อสังคมออนไลน์ การทำธุรกรรมทางการเงิน การซื้อสินค้าต่าง ๆ ผ่านช่องทางอินเทอร์เน็ตเป็นเรื่องที่ใกล้ตัวมากเพียงแค่มีโทรศัพท์ที่สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ยิ่งในปีที่ผ่านมาหลังจากสถานการณ์ Covid-19 แพร่ระบาด ประชาชนได้เปลี่ยนวิถีชีวิตเป็นแบบ New Normal ทำให้การออกมาทำกิจกรรมนอกสถานที่ลดลงแต่เมื่อดูเรื่องการจับจ่ายใช้สอยกลับมีมูลค่าสูงขึ้น
.... จากข้อมูล ปี 2565 ประเทศไทยมีประชากรประมาณ 70 ล้านคน...
ครึ่งปีแรก2565 ของธุรกิจประกันชีวิต เบี้ยสุขภาพนำ ขณะที่ช่องทางตัวแทนและดิจิตัลโตเป็นบวก นอกนั้นติดลบ
...*** ภาพรวมธุรกิจประกันชีวิตในช่วงครึ่งแรกปี 2565 ระหว่าง มกราคม – มิถุนายน มีเบี้ยประกันภัยรับรวมอยู่ที่ 289,097 ล้านบาท เติบโตลดลงร้อยละ 1.94 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปี 2564 โดยจำแนกเป็น เบี้ยประกันภัยรับรายใหม่ 79,685 ล้านบาท อัตราการเติบโตลดลงร้อยละ 4.75...
โดย : สิทธิ์ บ้านไทยแลนด์
เวลาที่เราจะพูดหรือจะทำอะไรก็ตาม ต้องอยู่ภายใต้เหตุผลอันสมควรครับ...
ไม่ใช่ทำเพื่อปกป้องใครหรือหน่วยงานใด เพียงฝ่ายเดียวครับ...แต่จะต้องพูดและทำเพื่อ 'ปกป้องหลักการและความถูกต้อง' ให้คงอยู่ต่อไปให้ได้
**มีหลายท่าน เข้าใจว่า บริษัทประกันภัย จะทำอะไรโดยพลการก็ได้...ออกตัวสินค้าแบบไหนก็ได้ จะคิดเบี้ยเท่าไหร่ก็ได้... อยากจะบอกว่า ถ้าเป็นต่างประเทศ ใช่ครับ...เขาเปิดเสรีกัน เสรีในเรื่องการคิดตัวสินค้า เสรีในเรื่องของการกำหนดเบี้ยประกัน...
แต่ประเทศไทย ไม่ใช่ครับ...ไม่ได้เป็นอย่างนั้น...เรามีหน่วยงานกำกับธุรกิจประกันภัย...กำกับแบบไม่ได้ปล่อยเสรีอะไรมากมาย
** อย่างเรื่องตัวสินค้าที่บริษัทประกันออกขายก็เหมือนกัน แน่นอนว่า ต้นเรื่องอาจมาจากบริษัทประกัน ...แต่ในกระบวนการ...